วันพุธที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2554

วันจันทร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2554

ประเภทของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ 
1.แรงแวนเดอร์วาลส์
-แรงลอนดอน ( london foece ) เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงอ่อนๆ ซึ่งเกิดขึ้นในสารทั่วไป และจะมีค่าเพิ่มขึ้นตามมวลโมเลกุลของสาร
-แรงดึงดูดระหว่างขั้ว ( dipole – dipole force ) เป็นแรงดึงดูดทางไฟฟ้าอันเนื่องมาจากแรกระทำระหว่างขั้วบวกกับขั้วลบของโมเลกุลที่มีขั้ว
2.พันธะไฮโดรเจน (hydrogen bond , H – bond ) คือ แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลที่เกิดจากไฮโดรเจนอะตอมสร้างพันธะโคเวเลนต์ กับอะตอมที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูง

วิธีการเขียนสูตรโครงสร้างของสารอินทรีย์
1.สูตรโมเลกุล
2.สูตรแบบจุด/สูตรแบบเส้น
3.สูตรแบบย่อ
4.สูตรแบบเส้นและมุม

ประเภทของสารประกอบคาร์บอน

1.ใช้ลักษณะปฏิกิริยาเป็นเกณฑ์
-Saturated Cpds  เป็นพันธะซิกม่า
-Unsaturated Cpds  เป็นพันธะพายอย่างน้อย 1 พันธะ
2.ใช้โครงสร้างเป็นเกณฑ์
-Aliphatic Cpds โซ่เปิด
  * Straight Chain
  * Branched Chain
-Ailcyclic Cpds โซ่ปิด
3.Aromatic Cpds
Alicyclic Cpds ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนพาย = 4n-2 
4.Heterocyclic Cpds
โซ่ปิดที่ไม่ได้ประกอบด้วยCทั้งหมด




ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น