วันพุธที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2554

วันจันทร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2554

ประเภทของแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุลโคเวเลนต์ 
1.แรงแวนเดอร์วาลส์
-แรงลอนดอน ( london foece ) เป็นแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล ยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงอ่อนๆ ซึ่งเกิดขึ้นในสารทั่วไป และจะมีค่าเพิ่มขึ้นตามมวลโมเลกุลของสาร
-แรงดึงดูดระหว่างขั้ว ( dipole – dipole force ) เป็นแรงดึงดูดทางไฟฟ้าอันเนื่องมาจากแรกระทำระหว่างขั้วบวกกับขั้วลบของโมเลกุลที่มีขั้ว
2.พันธะไฮโดรเจน (hydrogen bond , H – bond ) คือ แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลที่เกิดจากไฮโดรเจนอะตอมสร้างพันธะโคเวเลนต์ กับอะตอมที่มีค่าอิเล็กโทรเนกาติวิตีสูง

วิธีการเขียนสูตรโครงสร้างของสารอินทรีย์
1.สูตรโมเลกุล
2.สูตรแบบจุด/สูตรแบบเส้น
3.สูตรแบบย่อ
4.สูตรแบบเส้นและมุม

ประเภทของสารประกอบคาร์บอน

1.ใช้ลักษณะปฏิกิริยาเป็นเกณฑ์
-Saturated Cpds  เป็นพันธะซิกม่า
-Unsaturated Cpds  เป็นพันธะพายอย่างน้อย 1 พันธะ
2.ใช้โครงสร้างเป็นเกณฑ์
-Aliphatic Cpds โซ่เปิด
  * Straight Chain
  * Branched Chain
-Ailcyclic Cpds โซ่ปิด
3.Aromatic Cpds
Alicyclic Cpds ที่มีจำนวนอิเล็กตรอนพาย = 4n-2 
4.Heterocyclic Cpds
โซ่ปิดที่ไม่ได้ประกอบด้วยCทั้งหมด




วันอาทิตย์ที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2554

วันศุกร์ที่ 16 ธันวาคม พ.ศ. 2554

บทนำ
พันธะที่เกิดขึ้นกับ Carbon คือ Covalent Bond และ Carbon มีการจัดเรียง e- ดังนี้ 1s2 2s2 2p2 มี e- เดี่ยวเพียง 2 ตัว น่าจะสร้างได้เพียง 2 พันธะ แต่จริงๆแล้ว Carbon สร้างได้ 4 พันธะ อธิบายได้โดยทฤษฎีพันธะเวเลนต์ (Valence Bond Theory)
         Valence Bond Theory อธิบายการเกิดพันธะ ที่คาร์บอนเกิดการผสมของ e- ใน 2s และ 2p ก่อนจะสร้างพันธะกับธาตุอื่น เรียกการผสมนี้ว่า Hybridization

 Hybridization ของ Carbon มี 3 รูปแบบ
1. Hybridization แบบ sp3 เกิดจากการผสมของ e- ใน 2s :1 orbital และ 2px 2py 2pz : 3 orbital เกิดเป็น orbital ใหม่ 4 orbital ที่ผสมกันระหว่าง 2s และ 2p มีลักษณะโครงสร้างแบบ AX4 หรือทรงสี่หน้า (Tetrahedral) เรียกพันธะเดี่ยวที่ orbital ทั้งสี่สร้างว่า พันธะ sigma (σ bonds) และ e- ที่ใช้สร้าง σ bonds ว่า electron sigma (σ electron) เช่น Methane (CH4)




2. Hybridization แบบ sp2 เป็นการผสมของ e- ใน 2s: 1 orbital  และ 2p อีก 2 orbital เกิดเป็น orbital ผสม 3 orbital ทำมุม 120 องศา เป็น AX3 สามเหลี่ยมแบนราบ (Trigonal Planar) มี e- เหลือใน 2pz อีก 1 orbital  orbital ผสม 3 orbital สร้าง σ bonds (พันธะซิกมา) ส่วน e- ที่เหลือใน 2pz จะใช้สร้าง พันธะไพ (π bonds) เรียก e- ที่ใช้สร้าง π bonds ว่า π electron เช่น Ethylene or Ethene (C2H4)



3. Hybridization แบบ sp เป็นการผสมของ e- ใน 2s: 1 orbital  และ 2px 1 orbital เกิดเป็น orbital ผสม 2 orbital ทำมุม 180 องศา เป็น AX2 เส้นตรง (Linear) มี e- เหลือใน 2py และ 2pz อีก 2 orbital  orbital ผสม 2 orbital สร้าง σ bonds (พันธะซิกมา) ส่วน orbital ที่เหลือ 2 orbital สร้าง พันธะไพ (π bonds) เช่น Acetylene or Ethyne (C2H2)



เครดิต: http://www.thaiblogonline.com/Goodfriend.blog?PostID=21382